ให้นักเรียนที่มีสภาพปัญหาที่เหมือนกัน หรือใกล้เคียงกัน จับกุล่ม� แล้วปฏิบัติตามหัวข้อดังนี้
���� 1.� ให้นักเรียนแต่ละคนในกุล่มระบายความรู้สึกของตนเองให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง (โดยทุกคนต้องสับเปลี่ยนกันพูดหรือระบายออก)��
���� 2.� ให้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาว่ามีอะไรบ้าง ให้เขียนเป็นหัวข้อ
���� 3.� ร่วมกันแสวงหาทางออกของปัญหา ว่าจะแก้ไขอย่างไร หรือต้องการความช่วยเหลือด้านใดบ้าง จากใครบ้าง เช่น จากครู จากโรงเรียน จากครอบครัว�
���� 4.� ให้แต่ละกลุ่มนำสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแก้ไข มาสรุปให้เพื่อนๆฟัง ในชั้นเรียน
���� 5.� ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ โดยผ่าน กระดานข่าวที่ครูตั้งให้
สมาชิกในกล่มมีดังต่อไปนี้
1.ส.ณ.ภิรวัฒน์� พานทอง
2.ส.ณจตุพล�� ติ้บมุ่ง
3.ส.ณศราวุธ�� สังฆจัน
4.ส.ณวัชรสิทธิ์�� นิกา
5.ส.ณประภาส� พ่วงกระแส
6.ส.ณสินชัย�� เอี่ยมกั๊ก
7.ส.ณพิศิษฐ์�� เหล็งยินดี
8.ส.ณภาคภูมิ�� วณาไทสง
9.ส.ณเบญจพงษ์� โมครัตน์
10.ส.ณหนึ่ง� ปิ่นตระกูล
สาเหตุที่สำคัญคือ
1.รับประทานอาหารมากจนเกินไป
2.คณะครสอนไม่ค่อยสนุก
3.สามเณรนอนดึกเกินไป
4.เวลาว่างไม่มี
5.ขี้เกียจไม่อยากเรียน
แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.รับประทานอาหารให้น้อยลง
2.ครูต้องเปลี่ยนวิธีการสอนให้สนุก
3.ต้องรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
4.เข้านอนแต่หัวค่ำ
5.ตั้งใจเรียน
เรียนไม่เข้าใจ� คือ สาเหตุมาจาก
1. ไม่มีหนังสือการเรียนหลักสูตรใหม่
2. เรียนจนเครียด,ท้อ
3. ไม่มีความรู้ในส่วนนั้น
4. เล่นบ้าง คุยบ้างกับเพื่อนบ้าง
5. งานทำไม่ทัน
การแก้ปัญหา
1. ให้ฝ่ายวิชาการจัดหาหนังสือที่ไม่มีเรียนให้เรียน
2. ให้ครูจัดหาสิ่งที่คลายเครียดมาสอนในวิชานั้นๆ
3. ให้ครูดูแลเอาใจใส่คนที่ไม่รู้เรื่องให้มาก อย่าซำเติม
4. ให้หัหน้าห้องพยาพามควบคุมในส่วนนี้ให้ได้
5. อย่าให้งานเยาะ
6. พยายามถามนักเรียนว่าคนไหนไม่เอาใจใส่ ให้สอนคนนั้นๆมากๆ
แล้วเรียนบทต่อไป
สมาชิก
1. ส.ณ. โอภาศ� เห็นได้ชม
2. ส.ณ. วีรพล��� น้อยคุณ
3. ส.ณ. วรชิต�� ชวดรัมย์
4. ส.ณ. คมสัน�� รสหอม
5. ส.ณ. กฤดา�� แซ่จ้าว
6. ส.ณ. วิชาญ�� กองทอง
7.ส.ณ. ปิยะพร�� ทรายแก้ว
8.ส.ณ. ทศพล� ชินเกต